การใช้งานกล้องระดับ

อุปกรณ์ที่ชดเชยค่าระดับที่อยู่ในกล้องระดับ หรือที่เรียกว่า Auto Level มีหน้าที่เพื่อช่วยชดเชยค่าระดับในกรณีที่ตั้งกล้องไม่ได้กึ่งกลางลูกนำ้ฟองกลม

เสียงกุ๊งกิ๊งในกล้องระดับคือเสียงการทำงานของ Compensator ในกล้องวัดระดับ (Level) ทำหน้าที่ในการปรับแกนตรงของกล้องให้อยู่ในตำแหน่งที่น้ำหนักเท่ากันหรือในตำแหน่งที่แนวระดับนอน

กล้องวัดระดับอัตโนมัติ Automatic Level คือ เครื่องมือที่ใช้ในงานทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวัดระดับหรือความสูงของพื้นผิวต่าง ๆ

1. กางขาตั้งกล้องให้ได้ระดับแล้วขั้นสกรู A ให้แน่น 2. ยึดขาตั้งกับพื้นให้มั่นคง 3. ติดตั้งกล้องบนขาตั้งและขันสกรู B ให้แน่น 4. ปรับควงสามเส้าให้ลูกน้ำฟองกลมอยู่กึ่งกลาง

การวัดระดับความสูง 1. ตั้งกล้องให้อยู่กึ่งกลาง ระหว่างจุด A และจุด B 2. ส่องกล้องไปที่ Staff ที่จุด A    อ่านค่าที่ได้บน Staff ค่าความสูง = a 3. ส่องกล้องไปที่ Staff ที่จุด B    อ่านค่าที่ได้บน Staff ค่าความสูง = b    ค่าระยะควมสูงระหว่าง A และ B = a-b    a = 1.735, b = 1.224    1.735 - 1.224 = 0.511 m.(คือค่าความสูงของ h)

1. เล็งไปที่ staff อ่านค่าที่อยู่ระหว่างสายใยบนกับสายใยล่าง หน่วยเป็น cm. 2. นำค่าตัวคูรคงที่(100) มาคูณหาค่าความแตกต่างระหว่างสายใยบนกับสายใยล่าง หน่วยเป็น m.

1. ตั้งกล้องที่จุด 0 แล้วมองไปที่จุด A    ค่ามุมที่ได้คือ α 2. หมุนกล้องไปที่จุด B อ่านค่ามุมเทียบ    จากจุดแรกได้มุม β 3. มุม A0B = α - β

1. ฝาครอบเลนส์ 2. ลูกดิ่ง 3. เครื่องมือปรับแก้ 4. คู่มือการใช้งาน

การมองภาพและปรับความคมชัดของกล้อง AUTO Level เป็นกระบวนการที่สำคัญในการใช้งานกล้องระดับอัตโนมัติ (AUTO Level) ในงานสำรวจและวิศวกรรมที่ต้องการความแม่นยำในการวัดระดับดินหรือพื้นที่แนวนอน นี่คือขั้นตอนการทำงาน

ส่วนประกอบของกล้องระดับ เช่น กล้องเล็งหยาบ ตัวปรับเส้นสายใย ฝาครอบ กระจกมองข้าง ลูกนำ้ฟองกลม ฟุตสกรู ฐานกล้อง แนวปรับกล้องซ้ายขวา สเกลองศา เลนส์กล้อง ที่ปรับโฟกัส

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้